การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล คือการที่ทำให้ข้อมูลอยู่ในรูปที่กะทัดรัด มีความหมายและสะดวกต่อการใช้งาน การค้นหา
สามารถนำเสนอในรูปแบบที่ง่ายต่อการตัดสินใจ ซึ่งประกอบด้วยวิธีต่างๆ ดังนี้
โปรแกรม Microsoft Excel สร้างขึ้นมาเพื่องานคำนวณโดยเฉพาะ ผู้เรียนสามารถใส่ ข้อมูลดิบ (ตัวเลข) ลงในหน้ากระดาษทำการ แล้วบอกวิธีคำนวณตัวเลขให้กับ Microsoft Excel เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ผู้เรียนต้องการ ผู้เรียนจะบอกวิธีการคำนวณให้กับ Microsoft Excel โดยการเขียนเป็นสูตร ตัวอย่างของสูตรอย่างง่าย ๆ ก็เช่น
การบวกกันระหว่างตัวเลข 2 จำนวน ประโยชน์ของโปรแกรมประเภท สเปรตชีทอย่างโปรแกรม Microsoft Excel ก็คือ ผู้เรียนสามารถทำการเขียนสูตรลงในเซลล์เพื่อให้เอ็กเซลทำการคำนวณค่าจากเซลล์อื่น
ๆ ให้
ตัวอย่างเช่น ผู้เรียนสามารถทำการใส่สูตรลงในเซลล์เพื่อให้
Excel หาผลรวมของค่าต่างๆ ที่ผู้เรียนต้องการได้
ในการคำนวณตัวเลขสามารถทำได้ทุกๆ
ตำแหน่งในกระดาษทำการโดยใส่ค่านิพจน์ทางคณิตศาสตร์ลงไป เมื่อกดปุ่ม
Enter ก็จะให้ผลทันที กระดาษทำการที่ใช้จะประกอบไปด้วยคอลัมน์ A,B,C,….. และเป็นแถว 1,2,3,….. ช่อง ๆ ที่ถูกแบ่งเรียกว่า เซลล์(Cell) เซลล์แต่ละเซลล์มีชื่อเรียกตามตำแหน่งการตัดกันระหว่างคอลัมน์และแถว เช่น เซลล์ที่อยู่ในตำแหน่ง A
แถว 1 จะเรียกว่าเซลล์ A1 ดังนั้นการคำนวณสามารถใช้สูตรด้วยการอ้างชื่อเซลใดเซลหนึ่งเพื่อมาใช้ในการคำนวณได้ หากผู้เรียนมีการเปลี่ยนแปลงค่าข้อมูลที่อยู่ในเซลล์ที่ถูกอ้างอิงโดยสูตร
เซลล์ที่มีสูตรนั้นอยู่ก็จะเปลี่ยนแปลงค่าโดยอัตโนมัติ
¨ สูตร (Formula)
v เกิดจากเครื่องหมาย ,
ค่าตัวเลข , ตำแหน่งเซลล์ที่เก็บข้อมูล ,
ฟังก์ชันของ
โปรแกรม Microsoft Excel , หรือชื่อกลุ่มข้อมูล นำมาผสมกันเพื่อให้เกิดค่าใหม่
v
โปรแกรม Microsoft Excel จะมองสูตรอยู่ในรูปของสมการ เช่น
สูตร
|
ผลลัพธ์
|
ดังนั้นสูตรในโปรแกรม Microsoft
Excel จึงขึ้นต้นด้วยเท่ากับ
(=) เสมอ
¨ เครื่องหมายที่ใช้ในการคำนวณในโปรแกรม Microsoft Excel
เครื่องหมาย
|
ตัวอย่างสูตร
|
เครื่องหมายในการคำนวณ
+ บวก
- ลบ
/ หาร
* คูณ
% เปอร์เซ็นต์
^ ยกกำลัง
|
=20+4*2
จะได้ผลลัพธ์ คือ 28
|
เครื่องหมายในการเชื่อมข้อความ
& เชื่อมข้อความ
|
=”Microsoft ”&A1
ถ้า A1 เก็บค่า ”Excel” จะได้ค่า Microsoft
Excel
|
เครื่องหมายในการเปรียบเทียบ
= เท่ากับ
> มากกว่า
< น้อยกว่า
>
= มากกว่าหรือเท่ากับ
<
= น้อยกว่าหรือเท่ากับ
<
> ไม่เท่ากับ
|
=A10 < 5000
จะให้ค่าเป็นจริง (Ture) เมื่อค่าในเซลล์ A10 น้อยกว่า 5000 แต่ถ้ามากกว่าหรือเท่ากับ 5000จะให้ค่าเป็นเท็จ (False)
|
|
|
|
|
เครื่องหมาย
|
ตัวอย่างสูตร
|
เครื่องหมายในการอ้างอิง
: (โคลอน) บอกช่วงข้อมูล
เว้นวรรค เอาเฉพาะข้อมูลซ้ำ
(Intersection)
, (คอมม่า) เอาข้อมูลทั้งหมดของทั้ง
2
ช่วง (
|
A1:A20 หมายถึง จากเซลล์ A1 ถึง A20
A:A หมายถึง ทั้งคอลัมน์ A
1:1 หมายถึง ทั้งแถวที่ 1
1:3 หมายถึง ทั้งแถวที่ 1 และ 3
A:IV หมายถึง ทั้งกระดาษทำการ
ถ้า “Sales” หมายถึง ช่วง B2:D2
“Q4” หมายถึง ช่วง C2:C5
“Q4
Sales” จะหมายถึง เซลล์ C2
|
ลำดับขั้นการทำงานของการคำนวณ
ลำดับ
|
เครื่องหมาย
|
คำอ่าน
|
1.
2
3
4
5
|
( )
%
^
* และ /
+ และ -
|
วงเล็บ
เปอร์เซ็นต์
ยกกำลัง
คูณ และ หาร
บวก และลบ
|
ใน Excel มีการลำดับความสำคัญของเครื่องหมาย
โดยเครื่องหมายที่มีลำดับแรกจะถูกคำนวณก่อน
ถ้าต้องการบังคับให้โปรแกรม
Microsoft Excel คำนวณตามลำดับเครื่องหมายคณิตศาสตร์ที่ผู้เรียนต้องการ ก็ให้ใส่เครื่องหมายวงเล็บ ( ) ก่อน
ÿ การป้อนสูตรโดยใช้เซลล์อ้างอิง
ผู้เรียนควรใช้เซลล์อ้างอิง (ตัวอย่างเช่น =A1+A2) แทนการป้อนตัวเลขไปตรงๆ (ตัวอย่างเช่น =10+30 เพราะถ้าผู้เรียนใช้เซลล์อ้างอิง เมื่อมีการเปลี่ยนตัวเลขในเซลล์อ้างอิง โปรแกรม Microsoft Excel จะคำนวณผลลัพธ์ให้อย่างอัตโนมัติ ในขณะที่เมื่อป้อนตัวเลขไปตรงๆ ผู้เรียนจะต้องมานั่งแก้ไขสูตรทุกครั้ง หรือผู้เรียนจะเรียกว่าการใช้เซลล์อ้างอิงเปรียบเสมือนกับการใช้ตัวแปรในการคำนวณนั่นเอง)
¨ ตัวอย่างการหาผลรวมโดยใช้สูตรโดยการอ้างอิงเซลล์
เมื่อใส่ตัวแปรเรียบร้อยแล้วให้ทำการกดปุ่ม Enter
โปรแกรม Microsoft Excel จะปรากฏคำตอบทันที ดังรูป
คำตอบที่ได้จากการใช้สูตรโดยอ้างอิงเซลล์
|
â ตัวอย่างสูตรอื่นๆ
โดยจะเห็นว่าตัวเลขในเซลล์เดียวกัน
แต่ใช้เซลล์อ้างอิงในการคำนวณและลำดับขั้นของเครื่องหมายในการคำนวณที่แตกต่างกันเท่านั้นก็จะทำให้การคำนวณได้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกัน ดังตัวอย่างต่อไปนี้
เซลล์นี้ประกอบไปด้วยสูตร
=A1+A2+A3*A4
=10+20+30*40
=1230
|
เซลล์นี้ประกอบไปด้วยสูตร
=A1*A3+A2+A4
=10*30+20+40
=360
|
เซลล์นี้ประกอบไปด้วยสูตร
=A3/A1+A2+A4
=30/10+20+40
=63
|
เซลล์นี้ประกอบไปด้วยสูตร
=A1+(A2+A3)*A4
=10+(20+30)*40
=2010
|
เซลล์นี้ประกอบไปด้วยสูตร
=A1*(A3-A2)+A4
=10*(30-20)+40
=140
|
นอกจากนี้การใช้เซลล์อ้างอิงหากเราเปลี่ยนตัวเลขในการคำนวณใหม่ แต่สูตรยังเหมือนเดิม
ก็จะทำให้คำตอบนี้เปลี่ยนแปลงไปได้โดยที่เราไม่ต้องทำการคำนวณใหม่ ดังรูป
เซลล์นี้ประกอบไปด้วยสูตร
=A1+A2+A3+A4
|
เซลล์นี้ประกอบไปด้วยสูตร
=A1+A2+A3+A4
|
ฟังก์ชัน จะหมายถึง สูตรพิเศษที่ได้เขียนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้ผู้ใช้นำไปใช้ได้โดยสะดวกผู้เรียนสามารถใช้ฟังก์ชันได้โดยการใส่ฟังก์ชันเหล่านั้นไปในสูตรบนแผ่นงานของผู้เรียน ลำดับตัวอักษรที่ใช้ในฟังก์ชัน เรียกว่า
รูปแบบ
ฟังก์ชันทั้งหมดมีรูปแบบพื้นฐานเดียวกัน
ถ้าผู้เรียนไม่ได้ทำตามรูปแบบนี้โปรแกรม
Microsoft Excel จะแสดงข้อความกำหนดข้อผิดพลาดในสูตร ถ้าเป็นฟังก์ชันนั้น เหมือนกับสูตรอื่นๆ
จะปรากฏไดอะล็อคบล็อกซ์ของการเลือกฟังก์ชันดังรูป
ประเภทของฟังก์ชัน
-
ที่ใช้ไปล่าสุด
-
ทั้งหมด
-
การเงิน
-
วันและเวลา
-
คณิตศาสตร์และตรีโกณมิติ
-
ทางสถิติ
-
การค้นหาและการอ้างอิง
-
ฐานข้อมูล
-
ข้อความ
-
ตรรกศาสตร์
-
ข้อมูล
ชื่อฟังก์ชันที่ถูกใช้งานบ่อย
ๆ ใน Excel
ชื่อฟังก์ชัน
รูปแบบ
ตัวอย่าง
|
ABS
ABS
(number)
=Abs(A1)
|
ให้ค่าสมบูรณ์ของตัวเลข
|
|
|
|
ชื่อฟังก์ชัน
รูปแบบ
ตัวอย่าง
|
AVERAGE
AVERAGE(number1.number2,…..)
=AVERAGE(A1:A5)
|
ให้ค่าเฉลี่ยของตัวแปรของมัน
|
|
|
|
ชื่อฟังก์ชัน
รูปแบบ
ตัวอย่าง
|
COUNT
COUNT(valuel,value2,…)
=COUNT(A1:A5)
|
นับจำนวนตัวเลขที่มีอยู่ในรายการตัวแปร
|
|
|
|
ชื่อฟังก์ชัน
รูปแบบ
ตัวอย่าง
|
MAX
MAX(number1,number2,…..)
=MAX(A1:A5)
|
ให้ค่าสูงสุดในรายการของตัวแปร
|
|
|
|
ชื่อฟังก์ชัน
รูปแบบ
ตัวอย่าง
|
MIN
MIN(number1,number2,…..)
=MIN(A1:A5)
|
ให้ค่าต่ำสุดในรายการของตัวแปร
|
|
|
|
ชื่อฟังก์ชัน
รูปแบบ
ตัวอย่าง
|
MOD
MOD(number1,divisor2,…..)
=MOD(A1:A5)
|
ให้ค่าเศษของการหาร
|
|
|
|
ชื่อฟังก์ชัน
รูปแบบ
ตัวอย่าง
|
ROUND
ROUND(number,num
digits)
=ROUND(A1,2)
|
ปัดเศษจำนวนให้เป็นตำแหน่ง ทศนิยมที่ระบุ
|
ชื่อฟังก์ชัน
รูปแบบ
ตัวอย่าง
|
ROUNDDOWN
ROUNDDOWN(number,num_ digits)
=ROUNDDOWN(A1,2)
|
ปัดเศษจำนวนลง
|
|
|
|
ชื่อฟังก์ชัน
รูปแบบ
ตัวอย่าง
|
ROUNDUP
ROUNDUP
(number,num_digits)
=ROUNDUP(A1,2)
|
ปัดเศษจำนวนขึ้น
|
ชื่อฟังก์ชัน
รูปแบบ
ตัวอย่าง
|
SUM
SUM(number1,number2,…..)
=SUM(A1:A5)
|
ให้ค่าผลรวมของตัวแปร
|
¨ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฟังก์ชัน
« ฟังก์ชันจะเริ่มต้นด้วยเครื่องหมายเท่ากับเสมอ (=)
« ข้อมูลที่เอ็กเซลใช้ในการคำนวณในฟังก์ชันนั้นจะอยู่ในเครื่องหมายวงเล็บ
( )
=SUM(A1,A2,A3)
=AVERAGE(C1,C2,C3)
=MAX(B7,C7,D7,E7)
=COUNT(D12,D13,D14)
การกำหนดกลุ่มเซลล์ในการคำนวณให้ใช้เครื่องหมายจุลภาค
(,) ระหว่างเซลล์อ้างอิงในฟังก์ชัน ตัวอย่างเช่น
=SUM(A1,A2,A3) จะเท่ากับ =A1+A2+A3
=SUM(A1:A3)
=AVERAGE(C1:C3)
=MAX(B7:E7)
=COUNT(D12:D14)
การกำหนดกลุ่มเซลล์ในการคำนวณให้ใช้เครื่องหมายจุดคู่
(:) ระหว่างเซลล์อ้างอิงต้นและปลายฟังก์ชัน
แล้วเอ็กเซลจะคำนวณโดยใช้เซลล์อ้างอิงทุกเซลล์ระหว่างเซลล์อ้างอิงทุกเซลล์อ้างอิงปลาย ตัวอย่างเช่น
=SUM(A1:A3) จะเท่ากับ =A1+A2+A3
¨ การคำนวณทั่วไป
SUM
สูตรนี้ใช้หาผลรวมของตัวเลข
ตัวอย่างเซลล์นี้ประกอบไปด้วยฟังก์ชัน
=SUM(A1:A4)
=A1+A2+A3+A4
=10+20+30+40
=100
|
AVERAGE
สูตรนี้ใช้หาค่าเฉลี่ยของตัวเลข
ตัวอย่างเซลล์นี้ประกอบไปด้วยฟังก์ชัน
=AVERAGE(A1:A4)
=25
|
MAX
สูตรนี้ใช้หาตัวเลขที่มีค่ามากที่สุด
ตัวอย่างเซลล์นี้ประกอบไปด้วยฟังก์ชัน
=MAX(A1:A4)
=40
|
MIN
สูตรนี้ใช้หาค่าตัวเลขที่น้อยที่สุด
ตัวอย่างเซลล์นี้ประกอบไปด้วยฟังก์ชัน
=MIN(A1:A4)
=10
|
COUNT
สูตรนี้ใช้กับการนับจำนวนเซลล์
ตัวอย่างเซลล์นี้ประกอบไปด้วยฟังก์ชัน
=COUNT(A1:A4)
=4
|
การใส่ฟังก์ชันในการคำนวณนั้นสะดวกและรวดเร็วกว่าการนั่งป้อนสูตรเอง อีกทั้งฟังก์ชันก็ใช้ง่ายมาก เพราะจะมีคำแนะนำพร้อมกับขั้นตอนที่อำนวยความสะดวกในการใส่ข้อมูลในสูตร
คลิกที่ปุ่ม บนแถบสูตร
|
Œ
คลิกเซลล์ที่ต้องการใส่ฟังก์ชัน
|
เมื่อสิ้นสุดคำสั่งโปรแกรม Microsoft Excel จะปรากฏไดอะล็อคบ็อกซ์ แสดงขึ้นมาดังรูป
Ž คลิกที่กลุ่มฟังก์ชันที่ต้องการ
|
Yหมายเหตุ :
ถ้าผู้เรียนไม่ทราบว่าฟังก์ชันที่ต้องการจัดอยู่ในกลุ่มใด
ให้ทำการเลือกที่ “ทั้งหมด” ซึ่งเป็นกลุ่มรวมฟังก์ชันทั้งหมด |
คลิกที่ฟังก์ชันที่ต้องการ
|
ฟังก์ชันของกลุ่มจะแสดงขึ้นมา
บริเวณนี้
|
ใส่ฟังก์ชันในสมุดงานได้
โดยเลื่อนเมาส์คลิกที่ปุ่ม ตกลง |
พื้นที่บริเวณนี้จะอธิบายสรุปและวิธีใช้คร่าว
ๆ ของฟังก์ชันที่เลือก
|
เมื่อสิ้นสุดคำสั่งโปรแกรม
Microsoft Excel
จะแสดงไดอะล็อคบ็อกซ์ขึ้นมาทันที
ถ้า ไดอะล็อคบ็อกซ์นี้บังข้อมูลที่ผู้เรียนต้องการดูอยู่ ก็สามารถทำการเลื่อนไดอะล็อคบ็อกซ์นี้ไปวาง ยังตำแหน่งใหม่ได้
‘ เลื่อนไดอะล็อคบ็อกซ์ โดยคลิกเมาส์แถบชื่อเรื่อง (แถบสีน้ำเงิน)
|
’ คลิกเมาส์ค้างไว้ แล้วเลื่อน
ไดอะล็อคบ็อกซ์ไปวางยังตำแหน่งใหม่ที่ต้องการ จากนั้นก็ปล่อยปุ่มเมาส์
|
v เมื่อผู้เรียนใส่ฟังก์ชันเข้าไปแล้ว ผู้เรียนจะต้องกำหนดตัวเลขหรือเซลล์อ้างอิงเพื่อใช้ในการคำนวณของฟังก์ชันด้วย
ช่องสำหรับใส่ตัวเลขที่จะใช้ในการคำนวณในฟังก์ชัน
|
ส่วนบริเวณนี้เป็นข้อความอธิบายตัวเลขที่ใส่ลงไป
|
ใส่ชื่อเซลล์ที่ต้องการคำนวณลงไป โดยเลื่อน
เมาส์ไปคลิกที่ช่อง
Number1 เช่น E5:E9
|
” คลิกปุ่ม ตกลง
|
ช่องนี้จะแสดงค่าในเซลล์ที่เราทำการเลือก
|
ผลการคำนวณของฟังก์ชันจะแสดงที่เซลล์ทันที
|
สำหรับสูตรในฟังก์ชันจะแสดงขึ้นที่แถบสูตร
|
z การหาผลรวมอัตโนมัติ (Auto Sum)
Œ
คลิกที่เซลล์ด้านล่างหรือด้านขวาของกลุ่มเซลล์ที่ต้องการหาผลรวม
|
คลิกปุ่ม บนแท็ป
หน้าแรก ของ Ribbon
r
|
โปรแกรม Microsoft Excel จะแสดงเส้นประล้อมรอบกลุ่มเซลล์ที่จะหาผลรวม โดย
โปรแกรมจะวิเคราะห์ว่าควรจะเป็นกลุ่มเซลล์ใดให้อย่างอัตโนมัติ
เส้นประล้อมรอบกลุ่มเซลล์ที่จะหาผลรวม
|
ในกรณีที่กลุ่มเซลล์ที่โปรแกรมวิเคราะห์มาไม่ถูกต้อง ผู้เรียนสามารถทำการเลือกกลุ่มเซลล์ใหม่ได้
Ž กดปุ่ม
Enter เพื่อหาผลรวมของข้อมูล
|
การใช้คุณสมบัติคำนวณอัตโนมัติ
ถ้าเป็นการคำนวณพื้นฐานทั่วไป เราสามารถที่จะดูผลลัพธ์ก่อนที่จะใส่สูตรหรือใช้ฟังก์ชันก่อนได้เลย
Œ เลือกกลุ่มเซลล์ที่ต้องการคำนวณ
|
พื้นที่ แถบสถานะ (Status
bar)
จะแสดงค่า
ต่าง ๆ ที่เลือกเปิดการแสดงผลในส่วนของแถบสถานะไว้ เช่น ค่าเฉลี่ย , จำนวนนับ , ผลรวม เป็นต้น |
สำหรับการดูค่าต่าง ๆ นั้นสามารถกำหนดได้จากแถบสถานะ หรือ Status bar ได้ทันที โดยการคลิกเมาส์ทางขวาบนแถบสถานะ ซึ่งจะมีกรอบคำสั่งให้เลือกหัวข้อ หรือ
คำสั่งที่ต้องการให้ปรากฏบนแถบสถานะนั้น
โดยคำสั่งใดมีเครื่องหมาย P อยู่ด้านหน้าคำสั่ง แสดงว่าเราได้เปิดใช้คำสั่งนี้
ในบางครั้งที่ผลลัพธ์ของสูตรไม่ได้ตรงไปตรงมา
แต่ขึ้นอยู่กับเงื่อนไข ดังนั้นจึงต้องนำฟังก์ชัน IF เข้ามาช่วย ฟังก์ชัน
IF ใช้สำหรับการกำหนดเงื่อนไขว่า
ถ้าเป็นไปตามเงื่อนไขจะให้ทำอย่างไร และถ้าไม่เป็นไปตามเงื่อนไขจะให้ทำอย่างไร
** ฟังก์ชัน IF
มีโครงสร้างดังนี้
* IF (เงื่อนไข, ค่าที่จะเป็นเมื่อเงื่อนไขเป็นจริง
, ถ้าเงื่อนไขไม่เป็นจริงจะทำส่วนนี้)
* เงื่อนไข
คือ
การตรวจสอบว่าสิ่งที่เรากำหนดให้เป็นจริง (TRUE)
หรือไม่เป็นจริง (FALSE)
ตัวอย่าง การใช้ฟังก์ชัน IF
อาจารย์ผู้หนึ่งมีคะแนนของนักเรียนจำนวนมาก
จึงต้องการจะสร้างระบบที่ช่วยตัดเกรดนักเรียน โดยมีกฎเกณฑ์ว่า ตั้งแต่ 80
คะแนนขึ้นไป ได้เกรด A , ตั้งแต่ 70 คะแนน ถึง 79 คะแนน ได้เกรด
B, ตั้งแต่ 60 คะแนน ถึง 69 คะแนน ได้เกรด C, ตั้งแต่ 59 คะแนน ถึง 50 คะแนน ได้เกรด D และถ้าได้คะแนนต่ำกว่า
50 คะแนน ถือว่าได้เกรด F
สำหรับการใช้ฟังก์ชั่นสำหรับการตัดเกรด คือ
=IF(H4>79,"A",IF(H4>69,"B",IF(H4>59,"C",IF(H4>49,"D","F"))))
โดยให้พิมพ์ฟังก์ชั่นทั้งหมดนี้ในเซลล์ที่ต้องการให้แสดงเกรด จากนั้นกดปุ่ม
Enter โปรแกรมก็จะแสดงเกรดที่กำหนดในช่องเซลล์ที่ต้องการ
Note : อย่าใช้ฟังก์ชันซ้อนกันเกิน
64 ชั้น
ในตัวอย่าง คุณจะสังเกตเห็นว่า เราสามารถซ้อนการใช้งานฟังก์ชัน IF
เข้าไปในฟังก์ชัน IF ได้ ซึ่งในโปรแกรม Excel
2007
เราสามารถซ้อนฟังก์ชั่นกันได้ไม่เกิน 64 ชั้น หรือ 64 ลำดับ
IF(F4<=1000,10%*F4, IF(F4<=5000,15%*F4,20%*F4))
ทุกฟังก์ชันในโปรแกรม Excel ล้วนแต่มีข้อจำกัดนี้
ดังนั้นในการใช้ฟังก์ชันจึงต้องระวังไม่สร้างซ้อนกันเกินกว่าที่กำหนด
และควรระมัดระวังในการใส่ฟังก์ชั่น และเครื่องหมายต่าง ๆ
เพราะหากมีเครื่องหมาย หรือ
มีความผิดพลาดโปรแกรมจะไม่สามารถคำนวณได้และฟ้อง Error ทันที
|
ชั้นที่สอง
|
ชั้นที่หนึ่ง
|
ข้อผิดพลาดในการคำนวณสูตร
ในการคำนวณหากมีข้อผิดพลาดโปรแกรมจะแสดงสัญลักษณ์ออกมาให้ผู้เรียนทราบโดยจะแสดง
ณ ตำแหน่งเซลล์ที่ใช้ในการคำนวณ
ดังตัวอย่างของผิดพลาดที่พบบ่อย ๆ มีดังนี้
#####
|
ความหมาย คอลัมน์นั้นแคบเกินที่จะแสดงผลลัพธ์ได้ทั้งหมด
การแก้ไข ปรับขนาดของความกว้างคอลัมน์ให้พอดีกับขนาดของข้อมูลใหม่
การแก้ไข ปรับขนาดของความกว้างคอลัมน์ให้พอดีกับขนาดของข้อมูลใหม่
#DIV/0!
|
เซลล์นี้ประกอบด้วยสูตร
=A1*A2
|
ทำการขยายเซลล์ให้กว้างขึ้นก็จะสามารถมองเห็นตัวเลขทั้งหมด
|
ความหมาย ตัวหารที่ใช้ในสูตรมีค่าเป็น 0 หรือ
การอ้างอิงเซลล์เปล่าเป็นตัวหาร
การแก้ไข ตรวจสอบค่าตัวหารที่ใช้ในสูตรและแก้ไขให้ถูกต้อง
เซลล์นี้ประกอบไปด้วยสูตร
=A1/A2
|
#NAME?
|
ความหมาย ในสูตรมีชื่อฟังก์ชันหรือเซลล์อ้างอิงที่โปรแกรมไม่รู้จัก
การแก้ไข ตรวจสอบว่าพิมพ์สูตรผิด
หรือ กำหนดสูตรอ้างอิงต่าง ๆ ผิดหรือไม่
เซลล์นี้ประกอบไปด้วยสูตร
=SUMM(A1:A3)
|
จากตัวอย่างนี้ มีข้อผิดพลาดคือชื่อของฟังก์ชัน SUM พิมพ์ผิดเป็น SUMM หากเราแก้ไขก็จะ สามารถใช้สูตรนี้ได้ตามปกติ
#VALUE!
|
ความหมาย ในสูตรมีการใส่ข้อมูลในเซลล์อ้างอิงที่ไม่สามารถคำนวณได้ เช่น
ข้อความ เป็นต้น
การแก้ไข ตรวจสอบว่าพิมพ์สูตรผิด หรือ กำหนดสูตรอ้างอิงต่าง ๆ ผิดหรือไม่
การแก้ไข ตรวจสอบว่าพิมพ์สูตรผิด หรือ กำหนดสูตรอ้างอิงต่าง ๆ ผิดหรือไม่
คำนวณวนซ้ำ (Circular Reference)
|
เซลล์นี้ประกอบไปด้วยสูตร
=A1+A2+A3
|
เซลล์นี้ประกอบด้วยสูตร =A1+A2+A3+A4+A6 ซึ่งเซลล์ A6 จะเป็นเซลล์ที่ใส่สูตร โปรแกรมจะไม่สามารถคำนวณได้
|
สูตรที่ใช้กันหลายๆ
ที่ในสมุดงานเราสามารถทำการคัดลอกสูตรไปลงในเซลล์ที่เราต้องการคำตอบได้เลย
โดยไม่ต้องทำการพิมพ์ขึ้นใหม่
¨ การคัดลอกสูตรโดยใช้เซลล์อ้างอิงที่แน่นอน
จะปรากฏค่าหรือผลลัพธ์ของการคำนวณของสูตรที่คัดลอกมา
|
Ì
|
คลิกเมาส์ค้างไว้
แล้วให้ลากเมาส์ไปคลุมเซลล์ที่จะคัดลอกสูตรไป จากนั้นก็ปล่อยเมาส์
|
สูตรในเซลล์จะแสดงที่แถบสูตร
|
การดูสูตรในเซลล์ที่คัดลอกมา เพียง
เลื่อนเมาส์
|
เลื่อนเมาส์คลิกเซลล์ที่มีสูตรที่
เราต้องการคัดลอก
|
Œ ใส่สูตรที่ต้องการคัดลอก
|
คลิกขอบขวาล่างของเซลล์ (สังเกตว่ารูปเมาส์เปลี่ยนจาก
เปลี่ยนเป็น )
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น